วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559

สันโดษ3

สันโดษ คือ ความยินดี ความพอใจ คือความรู้จักพอดี ความรู้จักพอเพียง

มีลักษณะ 3 อย่าง คือ

ยินดีพอใจในสิ่งที่มีที่ได้มา ด้วยเรี่ยวแรงของตนในทางชอบธรรม ไม่ดิ้นรนอยากได้จนทำให้เกิดความเดือดร้อนจริงๆ
ยินดีพอใจกำลังของตน ใช้กำลังที่มีอยู่ เช่นความรู้ ความสามารถให้เกิดผลเต็มที่ ไม่ย่อหย่อนบกพร่อง

ยินดีพอใจแต่ไม่เกินเลย คือรู้จักพอเป็น อิ่มเป็น และแบ่งปันส่วนที่เกินเลยไปเอื้อเฟื้อผู้อื่นตาม  อ่านเพิ่มเติม

ทศพิธราชธรรม

ทศพิธราชธรรม แต่โบราณมาได้มีข้อกำหนดต่างๆ ที่พระมหากษัตริยาธิราชเจ้าพึงประฏิบัติ ในพระราชจริยาวัตรจัดเป็นพระคุณสมบัติที่สำคัญยิ่งด้วย เรียกว่า ทศราชธรรม หรือคุณธรรม 10 ประการ

ธรรมะข้อ 1.ทาน
หมายถึง พระราชทานพัสดุสิ่งของ หรือปัจจัยที่จำเป็นในการดำรงค์ชีวิต แก่ผู้สมควรได้รับ ได้แก่ พระภิกษุสงฆ์ และราษฎรผู้ยากไร้ เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์ แก่พระราชวงศานุวงค์ และข้าทูลละอองธุลีพระบาท ตามสมควรแก่ฐานะ.

ธรรมะข้อ 2.ศีล

หมายถึง การทรงศีล หรือการที่ทรงตั้งสังวรรักษาพ อ่านเพิ่มเติม

พระสัทธรรม 3

หลักสัทธรรม 3

           
พระสัทธรรม หมายถึง ธรรมอันดี, ธรรมที่แท้, ธรรมของสัตบุรุษ หรือหลักศาสนา ประกอบด้วย

1. ปริยัตติสัทธรรม หมายถึง สัทธรรมคือคำสั่งสอนอันจะต้องเล่าเรียน ได้แก่พุทธพจน์
2. ปฏิปัตติสัทธรรม หมายถึง สัทธรรมคือปฏิปทาอันจะต้องปฏิบัติ ได้แก่ มรรคมีองค์ 8 หรือไตรสิกขา  

3. ปฏิเวธสัทธรรม หมายถึง สัทธรรมคือผลอันจะพึงเข้าถึงหรือบรรลุด้วยกา อ่านเพิ่มเติม

ภาวนา 4

ภาวนา 4 (การเจริญ, การทำให้เป็นให้มีขึ้น, การฝึกอบรม, การพัฒนา : cultivation; training; development)
       1. กายภาวนา (การเจริญกาย, พัฒนากาย, การฝึกอบรมกาย ให้รู้จักติดต่อเกี่ยวข้องกับสิ่งทั้งหลายภายนอกทางอินทรีย์ทั้งห้าด้วยดี และปฏิบัติต่อสิ่งเหล่านั้นในทางที่เป็นคุณ มิให้เกิดโทษ ให้กุศลธรรมงอกงาม ให้อกุศลธรรมเสื่อมสูญ, การพัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ : physical development)

       2. สีลภาวนา (การเจริญศีล, พัฒนาความประพฤติ, การฝึกอบรมศีล ให้ตั้งอยู่ในระเบียบวินัย ไม่เบียดเบียนหรือก่อความเดือดร้อนเสียหาย อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ด้วยดี เกื้อกูลแก่กัน : moral development) อ่านเพิ่มเติม

นิวรณ์ 5

นิวรณ์ 5 หมายถึง สิ่งที่ขวางกั้นจิตทำให้สมาธิไม่อาจเกิดขึ้นได้ มี 5 อย่างคือ

1.กามฉันทะ คือ ความยินดี พอใจ เพลิดเพลินในกามคุณอารมณ์ ได้แก่ ความยินดี พอใจในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ(สิ่งสัมผัสทางกาย) อันน่ายินดี น่ารักใคร่พอใจ รวมทั้งความคิดอันเกี่ยวเนื่องด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะนั้น (คำว่ากามในทางธรรมนั้น ไม่ได้หมายถึงเรื่องเ อ่านเพิ่มเติม

นิยาม5

พระพุทธศาสนาสอนหลักความจริงว่า สิ่งทั้งหลายทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นคนสัตว์หรือสิ่งของ เป็นรูปธรรมหรือนามธรรม เป็นวัตถุหรือเป็นเรื่องจิตใจ ไม่ว่าชีวิตหรือโลกที่แวดล้อมอยู่ก็ตาม ทั้งหมดล้วนเป็นไปตามธรรมดาแห่งเหตุปัจจัย เป็นเรื่องของปัจจัยสัมพันธ์ ธรรมดาที่ว่านี้มองด้วยสายตาของมนุษย์ เรียกว่า กฎธรรมชาติ เรียกในภาษาบาลีว่า นิยามแปลว่า กำหนดอันแน่นอน ทำนองหรือแนวทางที่แน่นอน หรือความเป็นไปอันมีระเบียบแน่นอน เพราะปรากฏให้เห็นว่า เมื่อมีเหตุปัจจัยอย่างนั้นๆ แล้ว ก็จะมีความเป็น

วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559

วิตก3

วิตก หมายถึง ความคิด ความนึกคิด หรือดำริ ประกอบด้วย กุศลวิตก 3 และอกุศลวิตก 3 ได้แก่
1. กุศลวิตก 3 (wholesome thoughts) หมายถึง ความนึกคิดที่ดีงาม ประกอบด้วย
1.1 เนกขัมมวิตก หมายถึง ความนึกคิดในทางเสียสละ ความนึกคิดที่ปลอดจากกาม คือ ไม่ติดในการปรนเปรอสนองความอยากของตน
1.2 อพยาบาทวิตก หมายถึง ความนึกคิดที่ปลอดจากการพยาบาท หรือความนึกคิดที่ประกอบด้วยเมตตา คือไม่คิดขัดเคืองหรือพยาบาทมุ่งร้ายบุคคลอื่น

1.3 อวิหิงสาวิตก หมายถึง ความนึกคิดที่ปลอดจากการเบียด อ่านเพิ่ม
เติม